วันนี้ทางผู้เขียน จะนำการปกครองของประเทศต่างๆมาให้ท่านผู้ชบรับทราบกันนะครับ มีหลากหลายแนวนะครับ
ชื่อประเทศ ชื่อเต็ม United States of America เรียกว่า สหรัฐอเมริกา
ชื่อย่อ United States เรียกว่า สหรัฐฯ อักษรย่อ US หรือ USA
ระบอบการปกครอง สหพันธรัฐ (Federal Republic); แบบประชาธิปไตย โดยมีประธานาธิบดีเป็นประมุขและเป็นหัวหน้ารัฐบาล (Chief Executive) ภายใต้รัฐธรรมนูญ
เมืองหลวง กรุงวอชิงตัน (Washington,D.C.)
ประทศสหรัฐก็จะมีการแบ่งการปกครอง ประกอบด้วย 50 มลรัฐและ 1 District (District of Columbia ซึ่งเป็นที่ตั้งของ กรุงวอชิงตัน) ได้แก่ Alabama, Alaska (เป็นมลรัฐที่ใหญ่ที่สุด), Arizona, Arkansas, California, Colorado, Connecticut, Delaware, District of Columbia, Florida, Georgia, Hawaii, Idaho, Illinois, Indiana, Iowa, Kansas, Kentucky, Louisiana, Maine, Maryland, Massachusetts, Michigan, Minnesota, Mississippi, Missouri, Montana, Nebraska, Nevada, New Hamshire, New Jersey, New Mexico, New York, North Carolina, North Dakota, Ohio, Oklahoma, Oregon, Pennsylvania, Rhode Island (เป็นมลรัฐที่เล็กที่สุด), South Carolina, South Dakota, Tennessee, Texas, Utah, Vermont, Virginia, Washington, West Virginia, Wisconsin, Wyoming
เริ่มแรกที่ประเทศทางตะวันออกกลางเลยนะครับ คือ ประเทศอิหร่าน
สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน
ตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ซึ่งประกาศใช้เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) และแก้ไขเพิ่มเติมเมื่อปี พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) กำหนดให้อิหร่านเป็นสาธารณรัฐอิสลาม โดยมีโครงสร้างดังนี้ครับ
ประมุขสูงสุด (Rahbar)
ประมุขสูงสุดของอิหร่านคนปัจจุบันคือ อาลี คาเมเนอี Ayatollah Seyed Ali Khamenei (เกิดเมื่อ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2482) เป็นผู้นำสูงสุดทั้งฝ่ายศาสนาจักรและอาณาจักร ได้รับเลือกโดยสภาผู้ชำนาญการ(Assembly of Expert ประกอบด้วยสมาชิก 360 คน ซึ่งได้รับเลือกโดยตรงจากประชาชนและจากนักบวชอาวุโสในศาสนาอิสลามทั่วประเทศ)
ประธานาธิบดี (Ra'is-e Jomhoor)
เป็นตำแหน่งที่ได้รับเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนทุก ๆ 4 ปี และจะได้รับเลือกตั้งได้ไม่เกิน 2 สมัย ทำหน้าที่หัวหน้าฝ่ายบริหาร ถึงแม้ประธานาธิบดีจะได้รับเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนก็ตาม แต่อาจถูกถอดถอนจากตำแหน่งโดยประมุขสูงสุดได้ นั่นก็คือ Rahbar สามารถถอดถอน ประธานาธิบดีได้ครับ
ประธานาธิบดี (Ra'is-e Jomhoor)
เป็นตำแหน่งที่ได้รับเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนทุก ๆ 4 ปี และจะได้รับเลือกตั้งได้ไม่เกิน 2 สมัย ทำหน้าที่หัวหน้าฝ่ายบริหาร ถึงแม้ประธานาธิบดีจะได้รับเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนก็ตาม แต่อาจถูกถอดถอนจากตำแหน่งโดยประมุขสูงสุดได้ นั่นก็คือ Rahbar สามารถถอดถอน ประธานาธิบดีได้ครับ
โดยประธานาธิบดี อิหร่านคนปัจจุบันก็คือ Mahmoud Ahmadinejad ครับ
รองประธานาธิบดี
มีตำแหน่งรองประธานาธิบดี 6 คน และคณะรัฐมนตรี 20 คน ที่ได้รับความเห็นชอบจากสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (Majlis)
ประกอบด้วยสมาชิกที่ได้รับเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนทุก ๆ 4 ปี จำนวน 290 คน ทำหน้าที่ออกกฎหมายและควบคุมฝ่ายบริหาร
รองประธานาธิบดี
มีตำแหน่งรองประธานาธิบดี 6 คน และคณะรัฐมนตรี 20 คน ที่ได้รับความเห็นชอบจากสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (Majlis)
ประกอบด้วยสมาชิกที่ได้รับเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนทุก ๆ 4 ปี จำนวน 290 คน ทำหน้าที่ออกกฎหมายและควบคุมฝ่ายบริหาร
เมื่อก่อนหน้าที่รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ของอิหร่านจะมี Upper House คล้ายๆ สว บ้านเราหล่ะครับ แต่เปลี่ยนใหม่เป็น สภาผู้พิทักษ์ (Guardian Council) ประกอบด้วยสมาชิก 12 คน โดยประมุข สูงสุดจะแต่งตั้งจากนักบวชผู้เชี่ยวชาญทางศาสนาอิสลาม 6 คน และจากสภา Majlis 6 คน สภานี้ทำหน้าที่กลั่นกรองและให้ความเห็นชอบร่างกฎหมายที่ผ่านสภา Majlis แล้ว รวมทั้งพิจารณาว่า กฎหมายฉบับใดขัดต่อรัฐธรรมนูญและ/หรือหลักศาสนาอิสลามหรือไม่ รวมทั้งมีอำนาจตรวจสอบคุณสมบัติและให้ความเห็นชอบผู้ที่จะสมัครรับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีและสมาชิกสภา Majlis ด้วย
ส่วนในฝ่ายตุลาการก็จะมี สภาตุลาการสูงสุด (Supreme Judicial Council) ทำหน้าที่ฝ่ายตุลาการตัดสินคดีต่างๆครับ
การแบ่งเขตการปกครองของอิหร่าน ประเทศอิหร่านแบ่งออกเป็น 30 จังหวัด (provinces - ostanha) แต่ละจังหวัดปกครองโดยผู้ว่าราชการจังหวัดซึ่งมาจากการแต่งตั้ง (استاندار: ostāndār)
ก็ผ่านไปสำหรับเรื่องของการปกครองของอิหร่านนะครับซึ่งถือได้ว่า เป็นรัฐศาสนา ครับ
ประเทศต่อไปนะครับ คือ ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นชาติมหาอำนาจชาติหนึ่งของโลกเลย
ชื่อประเทศ ชื่อเต็ม United States of America เรียกว่า สหรัฐอเมริกา
ชื่อย่อ United States เรียกว่า สหรัฐฯ อักษรย่อ US หรือ USA
ระบอบการปกครอง สหพันธรัฐ (Federal Republic); แบบประชาธิปไตย โดยมีประธานาธิบดีเป็นประมุขและเป็นหัวหน้ารัฐบาล (Chief Executive) ภายใต้รัฐธรรมนูญ
เมืองหลวง กรุงวอชิงตัน (Washington,D.C.)
ประทศสหรัฐก็จะมีการแบ่งการปกครอง ประกอบด้วย 50 มลรัฐและ 1 District (District of Columbia ซึ่งเป็นที่ตั้งของ กรุงวอชิงตัน) ได้แก่ Alabama, Alaska (เป็นมลรัฐที่ใหญ่ที่สุด), Arizona, Arkansas, California, Colorado, Connecticut, Delaware, District of Columbia, Florida, Georgia, Hawaii, Idaho, Illinois, Indiana, Iowa, Kansas, Kentucky, Louisiana, Maine, Maryland, Massachusetts, Michigan, Minnesota, Mississippi, Missouri, Montana, Nebraska, Nevada, New Hamshire, New Jersey, New Mexico, New York, North Carolina, North Dakota, Ohio, Oklahoma, Oregon, Pennsylvania, Rhode Island (เป็นมลรัฐที่เล็กที่สุด), South Carolina, South Dakota, Tennessee, Texas, Utah, Vermont, Virginia, Washington, West Virginia, Wisconsin, Wyoming
เขตการปกครองอื่น ๆ American Samoa, Baker Island, Guam, Howland Island, Jarvis Island, John Atoll, Kingman Reef, Midway Islands, Navassa Island, Northern Mariana Islands, Palmyra Atoll, Puerto Rico, Virgin Islands, Wake Island
ระบบกฎหมาย อยู่บนรากฐานของกฎหมายจารีตประเพณีของอังกฤษ
สิทธิในการเลือกตั้ง อายุ 18 ปีขึ้นไป
ประมุขของประเทศ นาย George Walker Bush เป็นประธานาธิบดี คนที่ 43 และหัวหน้ารัฐบาล เข้ารับตำแหน่งเมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2548 สังกัดพรรครีพับริกัน และมีนาย Richard B. Cheney เป็นรองประธานาธิบดี
โครงสร้างทางการเมือง
สิทธิในการเลือกตั้ง อายุ 18 ปีขึ้นไป
ประมุขของประเทศ นาย George Walker Bush เป็นประธานาธิบดี คนที่ 43 และหัวหน้ารัฐบาล เข้ารับตำแหน่งเมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2548 สังกัดพรรครีพับริกัน และมีนาย Richard B. Cheney เป็นรองประธานาธิบดี
โครงสร้างทางการเมือง
สหรัฐฯ มีพรรคการเมืองใหญ่ 2 พรรค คือ พรรครีพับลิกัน (Republican) และพรรคเดโมเเครต (Democrat)
การปกครองแบบสหพันธรัฐ แบ่งแยกอำนาจออกเป็น 3 ฝ่าย ภายใต้บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ แต่ละฝ่ายได้รับเลือกในลักษณะที่แตกต่างกัน และมีการตรวจสอบและถ่วงดุลอำนาจซึ่งกันและกัน (checks and balances) ดังนี้
ฝ่ายบริหาร มีประธานาธิบดีเป็นประมุข ได้รับเลือกจากการเลือกตั้งทั่วไป ร่วมกับรองประธานาธิบดีทุก 4 ปี ในวันอังคารแรกของเดือนพฤศจิกายน ประธานาธิบดีมาจากการเลือกตั้งผ่านคณะผู้เลือกตั้ง ( Electoral College ) จำนวน 538 คน ดำรงตำแหน่งไม่เกิน 2 สมัย สมัยละ 4 ปี ประธานาธิบดีจะเป็นผู้ร่างรัฐบัญญัติต่อรัฐสภา และทำหน้าที่เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้ทำสนธิสัญญาต่างๆ ตลอดจนแต่งตั้งผู้พิพากษา เอกอัครราชทูตและตำแหน่งต่างๆของฝ่ายบริหารตั้งแต่ระดับรองผู้ช่วยรัฐมนตรี (Deputy Assistant Secretary) ขึ้นไป
การปกครองแบบสหพันธรัฐ แบ่งแยกอำนาจออกเป็น 3 ฝ่าย ภายใต้บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ แต่ละฝ่ายได้รับเลือกในลักษณะที่แตกต่างกัน และมีการตรวจสอบและถ่วงดุลอำนาจซึ่งกันและกัน (checks and balances) ดังนี้
ฝ่ายบริหาร มีประธานาธิบดีเป็นประมุข ได้รับเลือกจากการเลือกตั้งทั่วไป ร่วมกับรองประธานาธิบดีทุก 4 ปี ในวันอังคารแรกของเดือนพฤศจิกายน ประธานาธิบดีมาจากการเลือกตั้งผ่านคณะผู้เลือกตั้ง ( Electoral College ) จำนวน 538 คน ดำรงตำแหน่งไม่เกิน 2 สมัย สมัยละ 4 ปี ประธานาธิบดีจะเป็นผู้ร่างรัฐบัญญัติต่อรัฐสภา และทำหน้าที่เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้ทำสนธิสัญญาต่างๆ ตลอดจนแต่งตั้งผู้พิพากษา เอกอัครราชทูตและตำแหน่งต่างๆของฝ่ายบริหารตั้งแต่ระดับรองผู้ช่วยรัฐมนตรี (Deputy Assistant Secretary) ขึ้นไป
ฝ่ายนิติบัญญัติ ประกอบด้วย 2 สภา คือ
วุฒิสภา มีสมาชิกจากแต่ละมลรัฐ มลรัฐละ 2 คน รวมเป็น 100 คน ดำรงตำแหน่งสมัยละ 6 ปี โดยสมาชิกจำนวน 1 ใน 3 ครบวาระทุก 2 ปี วุฒิสภามีอำนาจให้ความเห็นชอบหรือปฎิเสธบุคคลที่ประธานาธิบดีแต่งตั้ง รวมทั้งคณะรัฐมนตรี และให้สัตยาบันสนธิสัญญา รองประธานาธิบดีสหรัฐฯ เป็นผู้ดำรงตำแหน่งประธานวุฒิสภาโดยตำแหน่ง (President of the Senate) คือนาย Richard B. Cheney หัวหน้าฝ่ายเสียงข้างมาก (Majority Leader)ในวุฒิสภา ได้แก่ นาย Bill First (R-Tennessee) หัวหน้าฝ่ายเสียงข้างน้อย (Minority Leader) ได้แก่ นาย Thomas A. Daschle (D-South Dakota)
สภาผู้แทนราษฎร มีสมาชิก 435 คน แบ่งตามสัดส่วนของประชากรในมลรัฐ คือ ประชากร 575,000 คน ต่อ สมาชิก 1 คน ดำรงตำแหน่งสมัยละ 2 ปี ประธานสภา (Speaker of the House) ได้แก่ นาย Dennis Hastert (R-Illinois) ผู้นำเสียงข้างมาก คือ นาย Tom DeLay (R-Texas) ส่วนผู้นำเสียงข้างน้อย คือ นาย Nancy Pelosi (D-California)
วุฒิสภา มีสมาชิกจากแต่ละมลรัฐ มลรัฐละ 2 คน รวมเป็น 100 คน ดำรงตำแหน่งสมัยละ 6 ปี โดยสมาชิกจำนวน 1 ใน 3 ครบวาระทุก 2 ปี วุฒิสภามีอำนาจให้ความเห็นชอบหรือปฎิเสธบุคคลที่ประธานาธิบดีแต่งตั้ง รวมทั้งคณะรัฐมนตรี และให้สัตยาบันสนธิสัญญา รองประธานาธิบดีสหรัฐฯ เป็นผู้ดำรงตำแหน่งประธานวุฒิสภาโดยตำแหน่ง (President of the Senate) คือนาย Richard B. Cheney หัวหน้าฝ่ายเสียงข้างมาก (Majority Leader)ในวุฒิสภา ได้แก่ นาย Bill First (R-Tennessee) หัวหน้าฝ่ายเสียงข้างน้อย (Minority Leader) ได้แก่ นาย Thomas A. Daschle (D-South Dakota)
สภาผู้แทนราษฎร มีสมาชิก 435 คน แบ่งตามสัดส่วนของประชากรในมลรัฐ คือ ประชากร 575,000 คน ต่อ สมาชิก 1 คน ดำรงตำแหน่งสมัยละ 2 ปี ประธานสภา (Speaker of the House) ได้แก่ นาย Dennis Hastert (R-Illinois) ผู้นำเสียงข้างมาก คือ นาย Tom DeLay (R-Texas) ส่วนผู้นำเสียงข้างน้อย คือ นาย Nancy Pelosi (D-California)
ฝ่ายตุลาการ ประกอบด้วย ศาลชั้นต้น (Circuit Court) ศาลอุทธรณ์ (Appeal Court)และศาลฎีกา (Supreme Court) ศาลฏีกามีอำนาจที่จะล้มเลิกกฎหมายใดๆและการปฏิบัติการของฝ่ายบริหารที่ได้วินิจฉัยแล้วว่าขัดต่อรัฐธรรมนูญ ในการแต่งตั้งผู้พิพากษาศาลฎีกาซึ่งมีทั้งหมด 9 คนนั้น ประธานาธิบดีเป็นผู้เสนอชื่อและวุฒิสภาเป็นผู้ให้การรับรอง และดำรงตำแหน่งได้โดยไม่มีการกำหนดวาระ
นี่ก็เป็นข้อมูลคร่าวๆ ในการปกครองของประเทศสหรัฐเมริกา มหาอำนาจโลก ขั้วหนึ่งครับ
มาดูกันต่อที่ประเทศในเอชียของเราบ้างนะครับ ประเทศญี่ปุ่น นั่นเองครับ
รูปแบบการปกครองของประเทศญี่ปุ่นนะครับ ระบอบเสรีประชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยมีรัฐสภาเป็นสถาบันสูงสุดของรัฐ และมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาล นอกจากนี้ตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันได้มีการบัญญัติไว้ว่าสมเด็จพระจักรพรรดิทรงเป็นสัญลักษณ์ของประเทศ มิใช่องค์ประมุขและไม่มีอำนาจในการบริหารประเทศ
รัฐธรรมนูญ ประกาศใช้เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2490 (ค.ศ. 1947) หลังสงครามโลกครั้งที่ 2
ประมุข สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ (His Majesty Emperor Akihito)
นายกรัฐมนตรี นายชินโซ อาเบะ (Shinzo Abe) (หัวหน้าพรรคเสรีประชาธิปไตย - LDP) เข้ารับตำแหน่งเมื่อ 26 กันยายน 2549 (ตอนนี้ได้ประกาศลาออกอย่างเป็นทางการแล้วนะครับ)ST@politicss
รมต. ต่างประเทศ นายทาโร อะโซ (Mr. Taro Aso) เข้ารับตำแหน่งเมื่อ 26 กันยายน 2549 (รับตำแหน่งรมต.
ต่างประเทศครั้งแรกเมื่อ 31 ตุลาคม 2548) คนที่เป็นที่คาดหมายว่าจะได้เป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไปครับ
รัฐสภา เรียกชื่อว่า “สภาไดเอท” ประกอบด้วย สภาผู้แทนราษฎร (House of Representatives) ซึ่งมีสมาชิก 480 คน
มาจากการเลือกตั้งทั่วประเทศมีวาระการดำรงตำแหน่ง 4 ปี และวุฒิสภา (House of Councillors) ซึ่งมีสมาชิก 242 คน
มีวาระในการดำรงตำแหน่ง 6 ปี โดยเลือกตั้งจำนวนครึ่งหนึ่งสลับกันไปทุก 3 ปี
-ประธานสภาผู้แทนราษฎร (Speaker of the House of Representatives) นายโยเฮ โคโนะ (Yohei Kono)
- ประธานวุฒิสภา (President of the House of Councillors) นางจิคาเกะ โอกิ (Chikage Oogi)
รัฐธรรมนูญ ประกาศใช้เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2490 (ค.ศ. 1947) หลังสงครามโลกครั้งที่ 2
ประมุข สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ (His Majesty Emperor Akihito)
นายกรัฐมนตรี นายชินโซ อาเบะ (Shinzo Abe) (หัวหน้าพรรคเสรีประชาธิปไตย - LDP) เข้ารับตำแหน่งเมื่อ 26 กันยายน 2549 (ตอนนี้ได้ประกาศลาออกอย่างเป็นทางการแล้วนะครับ)ST@politicss
รมต. ต่างประเทศ นายทาโร อะโซ (Mr. Taro Aso) เข้ารับตำแหน่งเมื่อ 26 กันยายน 2549 (รับตำแหน่งรมต.
ต่างประเทศครั้งแรกเมื่อ 31 ตุลาคม 2548) คนที่เป็นที่คาดหมายว่าจะได้เป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไปครับ
รัฐสภา เรียกชื่อว่า “สภาไดเอท” ประกอบด้วย สภาผู้แทนราษฎร (House of Representatives) ซึ่งมีสมาชิก 480 คน
มาจากการเลือกตั้งทั่วประเทศมีวาระการดำรงตำแหน่ง 4 ปี และวุฒิสภา (House of Councillors) ซึ่งมีสมาชิก 242 คน
มีวาระในการดำรงตำแหน่ง 6 ปี โดยเลือกตั้งจำนวนครึ่งหนึ่งสลับกันไปทุก 3 ปี
-ประธานสภาผู้แทนราษฎร (Speaker of the House of Representatives) นายโยเฮ โคโนะ (Yohei Kono)
- ประธานวุฒิสภา (President of the House of Councillors) นางจิคาเกะ โอกิ (Chikage Oogi)
การปกครองท้องถิ่น ญี่ปุ่นแบ่งเขตการปกครองท้องถิ่นออกเป็น 47 จังหวัด (Prefecture) ซึ่งรวมกรุงโตเกียว (Tokyo Metropolis) ด้วย การปกครองส่วนท้องถิ่นภายในจังหวัดแยกออกเป็น นคร เมือง และหมู่บ้าน ยกเว้นกรุงโตเกียวที่มีเขตการปกครอง เฉพาะในส่วนใจกลาง 23 เขต นอกเหนือไปจากเขตชานกรุง ซึ่งประกอบด้วย 27 นคร 5 เมือง และ 8 หมู่บ้าน รัฐบาลญี่ปุ่นได้พยายามกระจายอำนาจการปกครองไปสู่ท้องถิ่น โดยผู้ว่าราชการจังหวัด นายกเทศมนตรีของนครขนาดใหญ่ ของเมืองและของหมู่บ้านตลอดจนสมาชิกสภาส่วนท้องถิ่นทุกระดับมาจากการเลือกตั้ง
การเลือกตั้ง สภาผู้แทนราษฎรมีการเลือกตั้งครั้งล่าสุดเมื่อ 11 กันยายน 2548 วุฒิสภามีการเลือกตั้งครั้งล่าสุด เมื่อ 11 กรกฎาคม 2547 โดยจะมีการเลือกตั้งครั้งต่อไปจำนวนครั้งหนึ่ง (141 คน) สมาชิกครึ่งหนึ่ง ในทุก 3 ปี เเละจะมีการเลือกตั้งใหม่ในช่วงกลางปี 2550
การเลือกตั้ง สภาผู้แทนราษฎรมีการเลือกตั้งครั้งล่าสุดเมื่อ 11 กันยายน 2548 วุฒิสภามีการเลือกตั้งครั้งล่าสุด เมื่อ 11 กรกฎาคม 2547 โดยจะมีการเลือกตั้งครั้งต่อไปจำนวนครั้งหนึ่ง (141 คน) สมาชิกครึ่งหนึ่ง ในทุก 3 ปี เเละจะมีการเลือกตั้งใหม่ในช่วงกลางปี 2550
พรรคการเมือง พรรคการเมืองที่สำคัญ ได้แก่
พรรคเสรีประชาธิปไตย ( Liberal Democratic Party : LDP) เป็นพรรคแกนนำรัฐบาล มีที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎร
294 ที่นั่ง (สตรี 26 คน) ในวุฒิสภา 111 ที่นั่ง (สตรี 12 คน) หัวหน้าพรรคคือนายชินโซ อาเบะ ซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
294 ที่นั่ง (สตรี 26 คน) ในวุฒิสภา 111 ที่นั่ง (สตรี 12 คน) หัวหน้าพรรคคือนายชินโซ อาเบะ ซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
พรรคนิว โคเมโต (New Komeito) เป็นพรรคร่วมรัฐบาล มีที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎร 31 ที่นั่ง (สตรี 4 คน) ในวุฒิสภา
24 ที่นั่ง (สตรี 5 คน) หัวหน้าพรรคคือนายฮากิฮิโร โอตะ (Akihiro Ota)
24 ที่นั่ง (สตรี 5 คน) หัวหน้าพรรคคือนายฮากิฮิโร โอตะ (Akihiro Ota)
พรรคประชาธิปไตยญี่ปุ่น (Democratic Party of Japan : DPJ : Minshuto) แกนนำฝ่ายค้าน มีที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎร 113 ที่นั่ง (สตรี 10 คน) ในวุฒิสภา 82 ที่นั่ง (สตรี 11 คน) หัวหน้าพรรคคือนายอิจิโร โอซาวา (Ichiro Ozawa)
พรรคสังคมประชาธิปไตยญี่ปุ่น (Social Democratic Party of Japan : SDP) เป็นพรรคฝ่ายค้าน มีที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎร 7 ที่นั่ง (สตรี 2 คน) ในวุฒิสภา 6 ที่นั่ง (สตรี 1 คน) หัวหน้าพรรคคือนางมิซูโฮะ ฟูคุชิมา (Mizuho Fukushima)
พรรคคอมมิวนิสต์ (Japan Communist Party - JCP) เป็นพรรคฝ่ายค้าน มีที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎร 9 ที่นั่ง (สตรี
2 คน) ในวุฒิสภา 9 ที่นั่ง (สตรี 3 คน) หัวหน้าพรรคคือนายคาซึโอะ ชิอิ (Kazuo Shii)
2 คน) ในวุฒิสภา 9 ที่นั่ง (สตรี 3 คน) หัวหน้าพรรคคือนายคาซึโอะ ชิอิ (Kazuo Shii)
สำหรับประเทศใกล้เคียงประเทศไทยอีกประเทศนึงก็คือ ประเทศจีน ครับ
การเมือง
(1) การเมืองการปกครอง
ในระบอบการปกครองของจีนพรรคคอมมิวนิสต์จะเป็นผู้กำหนดนโยบายทุกด้านให้รัฐบาลไปปฏิบัติ (รัฐบาลจึงไม่ใช่องค์กรกำหนดนโยบาย) โดยจีนมีนโยบายภายในที่สำคัญ ดังนี้
1.1 เน้นการปฏิรูปเศรษฐกิจและการเปิดประเทศเพื่อสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ และกำหนดเป้าหมายให้ GDP เพิ่มขึ้นอีก 4 เท่าตัว และทำให้จีนสร้างความกินดีอยู่ดี “เสี่ยวคาง” แก่คนจีนในระดับเดียวกับประเทศที่กำลังพัฒนาในระดับกลาง ภายในปี 2563 (ค.ศ. 2020) ในขณะเดียวกัน ก็ต้องแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำของระดับการพัฒนาระหว่างภาคตะวันออกกับภาคตะวันตก ซึ่งอาจนำมาซึ่งปัญหาการเมือง สังคม ความแตกแยกของชนชาติที่รุนแรง จึงได้กำหนดให้พัฒนาภาคตะวันตกไปในเวลาเดียวกันด้วย
1.2 จีนเน้นการปฏิรูปทางการเมืองอย่างค่อยเป็นค่อยไป ในขณะเดียวกัน เพื่อลดกระแสกดดันการเรียกร้องให้ปฏิรูปการเมือง ซึ่งพรรคคอมมิวนิสต์จีนประเมินแล้วว่าไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ในระยะ 10 ปีข้างหน้า นายเจียง เจ๋อหมิน อดีตประธานาธิบดีจีน จึงได้เสนอหลักการ 3 ตัวแทนขึ้นมาและบรรจุลงไปในธรรมนูญของพรรค หลักการ 3 ตัวแทน จะสามารถลดแรงกดดันของกลุ่มนายทุนใหม่และนักวิชาการเรื่องปฏิรูปการเมืองได้ โดยพรรคคอมมิวนิสต์เปิดกว้างให้คนเหล่านี้เข้าไปมีส่วนร่วมในพรรคและการบริหารประเทศได้ในระดับหนึ่ง ทั้งนี้ จีนได้เริ่มปล่อยให้การปกครองระดับท้องถิ่นในระดับตำบลและเมือง (อำเภอ) มีการเลือกตั้งโดยอิสระแล้วตั้งแต่ปี 2538
หลักการสามตัวแทน ได้กำหนดให้พรรคคอมมิวนิสต์จีนเป็นตัวแทนใน 3 ด้าน คือ
(1) ด้านการผลิต โดยดูแลการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
(2) ด้านวัฒนธรรม โดยดำรงไว้ซึ่งวัฒนธรรมอันดีของจีน และนำวัฒนธรรมอื่นที่ดี
มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ประเทศชาติ
(3) เปิดให้พรรคคอมมิวนิสต์จีนเป็นตัวแทนของประชาชนทุกชนชั้น
กล่าวคือ ได้เปิดให้กลุ่มนายทุนและนักธุรกิจ ที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่
พรรคกำหนดเข้ามาเป็นสมาชิกพรรค และมีส่วนร่วมทางการเมืองเพิ่มขึ้น
ถือเป็นการเปลี่ยนภาพลักษณ์ของพรรคจากตัวแทนเชิงปฏิวัติ หรือตัวแทน
ของชนชั้นแรงงาน เป็นตัวแทนเชิงบริหาร หรือตัวแทนของประชาชนทุกชนชั้น
(2) พรรคคอมมิวนิสต์จีน
สาธารณรัฐประชาชนจีนปกครองในระบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์มีพรรคคอมมิวนิสต์จีนซึ่งมีสมาชิกประมาณ 68 ล้านคน (สถิติปี 2547) เป็นสถาบันทางการเมืองที่มีอำนาจในการกำหนดนโยบายด้านต่างๆ ของประเทศอย่างเบ็ดเสร็จตามแนวทางลัทธิมาร์กซ์-เลนิน ความคิดของอดีตประธานาธิบดีเหมา เจ๋อตง ทฤษฎีการสร้างสรรค์สังคมนิยมที่มีเอกลักษณ์แบบจีนของเติ้ง เสี่ยวผิง รวมถึงทฤษฎีสามตัวแทนที่ได้รับการบรรจุเข้าในธรรมนูญของรัฐเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2545 โดยรัฐบาลและรัฐสภามีหน้าที่คอยปฏิบัติตามมติและนโยบายที่พรรคกำหนดโดยยึดหลักประชาธิปไตยรวมศูนย์ (Democratic Centralism) ตามธรรมนูญพรรค กำหนดให้มีการประชุมสมัชชาพรรคแห่งชาติ (Party Congress) ทุก 5 ปี นับตั้งแต่ได้มีการจัดตั้งพรรคขึ้นในปี 2464 จนถึงปัจจุบัน พรรคคอมมิวนิสต์จีนได้จัดให้มีการประชุมสมัชชาพรรคคอมมิวนิสต์แล้วรวมทั้งสิ้น 16 ครั้ง โดยได้จัดประชุมสมัชชาพรรคสมัยที่ 16 ไปเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2545 ซึ่งนายหู จิ่นเทา ได้รับเลือกให้เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ คนปัจจุบัน (วาระ 5 ปี)
การเมืองภายในจีนยังคงมีเสถียรภาพภายใต้การนำของพรรคคอมมิวนิสต์จีน เมื่อวันที่ 8-14พฤศจิกายน 2545 ได้มีการประชุมสมัชชาพรรคสมัยที่ 16 ซึ่งมีการถ่ายโอนอำนาจจากผู้นำรุ่นที่ 3 ซึ่งมีนายเจียง เจ๋อหมิน เป็นแกนนำ ไปยังรุ่นที่ 4 ซึ่งมีนายหู จิ่นเทา เป็นแกนนำ
ที่ประชุมได้แต่งตั้งนายหู จิ่นเทา เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์จีน สืบแทนนายเจียง เจ๋อหมิน พร้อมทั้งแต่งตั้งสมาชิกถาวรประจำกรมการเมือง (Members of Standing Committee of the Political Bureau of the Central Committee of CPC) อีก 8 คน ถือได้ว่าบุคคลทั้ง 9 คนนี้ เป็นผู้ที่มีความสำคัญทางการเมืองระดับสูงสุดของจีน
ระหว่างวันที่ 5-18 มีนาคม 2546 ได้มีการประชุมสภาประชาชนแห่งชาติสมัยที่ 10 ขึ้น ในการประชุมครั้งนี้ได้มีการสรุปผลการบริหารประเทศในช่วง 5 ปี พร้อมทั้งแต่งตั้งผู้นำรัฐบาลชุดใหม่ โดยได้แต่งตั้งให้ นายหู จิ่นเทา เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์จีน เป็นประธานาธิบดี (สืบแทนนายเจียง เจ๋อหมิน) และนายเวิน เจียเป่า เป็นนายกรัฐมนตรี (สืบแทนนายจู หรงจี) ในขณะที่ นายเจียง เจ๋อหมิน ยังคงดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมาธิการทหารพรรคคอมมิวนิสต์จีนต่อไปอีกสมัย
ต่อมา ในการประชุมคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 4 ของสมัชชาพรรคสมัยที่ 6 ระหว่างวันที่ 16-19 กันยายน 2547 ได้อนุมัติให้นายหู จิ่นเทา ดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมาธิการทหาร (สืบแทนนายเจียง เจ๋อหมิน) โดยจะมีผลเมื่อได้รับความเห็นชอบจากสภาประชาชนในเดือนมีนาคม 2548
ผู้นำจีน
สมัชชาพรรคสมัยที่ 16 ได้คัดเลือกบุคคลเป็นสมาชิกกรมการเมืองจำนวน 25 คน (เพิ่มจากเดิม 3 คน) และสมาชิกกรมการเมือง 25 คนนี้ ได้เลือกตั้งสมาชิกถาวรประจำกรมการเมือง (Standing Committee of the Political Bureau of the Central Committee) จำนวน 9 คน (เพิ่มขึ้นจากเดิม 2 คน) เรียงตามลำดับอาวุโส ได้แก่
(1) นายหู จิ่นเทา (Hu Jintao)
(2) นายอู๋ ปางกั๋ว (Wu Bangguo)
(3) นายเวิน เจียเป่า (Wen Jiabao)
(4) นายเจี่ย ชิ่งหลิน (Jia Qinglin)
(5) นายเจิง ชิ่งหง (Zeng Qinghong)
(6) นายหวง จวี๋ (Huang Ju)
(7) นายอู๋ กวานเจิ้ง (Wu Guanzheng)
(8) นายหลี่ ฉางชุน (Li Changchun)
(9) นายหลัว ก้าน (Luo Gan)
(1) การเมืองการปกครอง
ในระบอบการปกครองของจีนพรรคคอมมิวนิสต์จะเป็นผู้กำหนดนโยบายทุกด้านให้รัฐบาลไปปฏิบัติ (รัฐบาลจึงไม่ใช่องค์กรกำหนดนโยบาย) โดยจีนมีนโยบายภายในที่สำคัญ ดังนี้
1.1 เน้นการปฏิรูปเศรษฐกิจและการเปิดประเทศเพื่อสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ และกำหนดเป้าหมายให้ GDP เพิ่มขึ้นอีก 4 เท่าตัว และทำให้จีนสร้างความกินดีอยู่ดี “เสี่ยวคาง” แก่คนจีนในระดับเดียวกับประเทศที่กำลังพัฒนาในระดับกลาง ภายในปี 2563 (ค.ศ. 2020) ในขณะเดียวกัน ก็ต้องแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำของระดับการพัฒนาระหว่างภาคตะวันออกกับภาคตะวันตก ซึ่งอาจนำมาซึ่งปัญหาการเมือง สังคม ความแตกแยกของชนชาติที่รุนแรง จึงได้กำหนดให้พัฒนาภาคตะวันตกไปในเวลาเดียวกันด้วย
1.2 จีนเน้นการปฏิรูปทางการเมืองอย่างค่อยเป็นค่อยไป ในขณะเดียวกัน เพื่อลดกระแสกดดันการเรียกร้องให้ปฏิรูปการเมือง ซึ่งพรรคคอมมิวนิสต์จีนประเมินแล้วว่าไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ในระยะ 10 ปีข้างหน้า นายเจียง เจ๋อหมิน อดีตประธานาธิบดีจีน จึงได้เสนอหลักการ 3 ตัวแทนขึ้นมาและบรรจุลงไปในธรรมนูญของพรรค หลักการ 3 ตัวแทน จะสามารถลดแรงกดดันของกลุ่มนายทุนใหม่และนักวิชาการเรื่องปฏิรูปการเมืองได้ โดยพรรคคอมมิวนิสต์เปิดกว้างให้คนเหล่านี้เข้าไปมีส่วนร่วมในพรรคและการบริหารประเทศได้ในระดับหนึ่ง ทั้งนี้ จีนได้เริ่มปล่อยให้การปกครองระดับท้องถิ่นในระดับตำบลและเมือง (อำเภอ) มีการเลือกตั้งโดยอิสระแล้วตั้งแต่ปี 2538
หลักการสามตัวแทน ได้กำหนดให้พรรคคอมมิวนิสต์จีนเป็นตัวแทนใน 3 ด้าน คือ
(1) ด้านการผลิต โดยดูแลการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
(2) ด้านวัฒนธรรม โดยดำรงไว้ซึ่งวัฒนธรรมอันดีของจีน และนำวัฒนธรรมอื่นที่ดี
มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ประเทศชาติ
(3) เปิดให้พรรคคอมมิวนิสต์จีนเป็นตัวแทนของประชาชนทุกชนชั้น
กล่าวคือ ได้เปิดให้กลุ่มนายทุนและนักธุรกิจ ที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่
พรรคกำหนดเข้ามาเป็นสมาชิกพรรค และมีส่วนร่วมทางการเมืองเพิ่มขึ้น
ถือเป็นการเปลี่ยนภาพลักษณ์ของพรรคจากตัวแทนเชิงปฏิวัติ หรือตัวแทน
ของชนชั้นแรงงาน เป็นตัวแทนเชิงบริหาร หรือตัวแทนของประชาชนทุกชนชั้น
(2) พรรคคอมมิวนิสต์จีน
สาธารณรัฐประชาชนจีนปกครองในระบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์มีพรรคคอมมิวนิสต์จีนซึ่งมีสมาชิกประมาณ 68 ล้านคน (สถิติปี 2547) เป็นสถาบันทางการเมืองที่มีอำนาจในการกำหนดนโยบายด้านต่างๆ ของประเทศอย่างเบ็ดเสร็จตามแนวทางลัทธิมาร์กซ์-เลนิน ความคิดของอดีตประธานาธิบดีเหมา เจ๋อตง ทฤษฎีการสร้างสรรค์สังคมนิยมที่มีเอกลักษณ์แบบจีนของเติ้ง เสี่ยวผิง รวมถึงทฤษฎีสามตัวแทนที่ได้รับการบรรจุเข้าในธรรมนูญของรัฐเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2545 โดยรัฐบาลและรัฐสภามีหน้าที่คอยปฏิบัติตามมติและนโยบายที่พรรคกำหนดโดยยึดหลักประชาธิปไตยรวมศูนย์ (Democratic Centralism) ตามธรรมนูญพรรค กำหนดให้มีการประชุมสมัชชาพรรคแห่งชาติ (Party Congress) ทุก 5 ปี นับตั้งแต่ได้มีการจัดตั้งพรรคขึ้นในปี 2464 จนถึงปัจจุบัน พรรคคอมมิวนิสต์จีนได้จัดให้มีการประชุมสมัชชาพรรคคอมมิวนิสต์แล้วรวมทั้งสิ้น 16 ครั้ง โดยได้จัดประชุมสมัชชาพรรคสมัยที่ 16 ไปเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2545 ซึ่งนายหู จิ่นเทา ได้รับเลือกให้เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ คนปัจจุบัน (วาระ 5 ปี)
การเมืองภายในจีนยังคงมีเสถียรภาพภายใต้การนำของพรรคคอมมิวนิสต์จีน เมื่อวันที่ 8-14พฤศจิกายน 2545 ได้มีการประชุมสมัชชาพรรคสมัยที่ 16 ซึ่งมีการถ่ายโอนอำนาจจากผู้นำรุ่นที่ 3 ซึ่งมีนายเจียง เจ๋อหมิน เป็นแกนนำ ไปยังรุ่นที่ 4 ซึ่งมีนายหู จิ่นเทา เป็นแกนนำ
ที่ประชุมได้แต่งตั้งนายหู จิ่นเทา เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์จีน สืบแทนนายเจียง เจ๋อหมิน พร้อมทั้งแต่งตั้งสมาชิกถาวรประจำกรมการเมือง (Members of Standing Committee of the Political Bureau of the Central Committee of CPC) อีก 8 คน ถือได้ว่าบุคคลทั้ง 9 คนนี้ เป็นผู้ที่มีความสำคัญทางการเมืองระดับสูงสุดของจีน
ระหว่างวันที่ 5-18 มีนาคม 2546 ได้มีการประชุมสภาประชาชนแห่งชาติสมัยที่ 10 ขึ้น ในการประชุมครั้งนี้ได้มีการสรุปผลการบริหารประเทศในช่วง 5 ปี พร้อมทั้งแต่งตั้งผู้นำรัฐบาลชุดใหม่ โดยได้แต่งตั้งให้ นายหู จิ่นเทา เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์จีน เป็นประธานาธิบดี (สืบแทนนายเจียง เจ๋อหมิน) และนายเวิน เจียเป่า เป็นนายกรัฐมนตรี (สืบแทนนายจู หรงจี) ในขณะที่ นายเจียง เจ๋อหมิน ยังคงดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมาธิการทหารพรรคคอมมิวนิสต์จีนต่อไปอีกสมัย
ต่อมา ในการประชุมคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 4 ของสมัชชาพรรคสมัยที่ 6 ระหว่างวันที่ 16-19 กันยายน 2547 ได้อนุมัติให้นายหู จิ่นเทา ดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมาธิการทหาร (สืบแทนนายเจียง เจ๋อหมิน) โดยจะมีผลเมื่อได้รับความเห็นชอบจากสภาประชาชนในเดือนมีนาคม 2548
ผู้นำจีน
สมัชชาพรรคสมัยที่ 16 ได้คัดเลือกบุคคลเป็นสมาชิกกรมการเมืองจำนวน 25 คน (เพิ่มจากเดิม 3 คน) และสมาชิกกรมการเมือง 25 คนนี้ ได้เลือกตั้งสมาชิกถาวรประจำกรมการเมือง (Standing Committee of the Political Bureau of the Central Committee) จำนวน 9 คน (เพิ่มขึ้นจากเดิม 2 คน) เรียงตามลำดับอาวุโส ได้แก่
(1) นายหู จิ่นเทา (Hu Jintao)
(2) นายอู๋ ปางกั๋ว (Wu Bangguo)
(3) นายเวิน เจียเป่า (Wen Jiabao)
(4) นายเจี่ย ชิ่งหลิน (Jia Qinglin)
(5) นายเจิง ชิ่งหง (Zeng Qinghong)
(6) นายหวง จวี๋ (Huang Ju)
(7) นายอู๋ กวานเจิ้ง (Wu Guanzheng)
(8) นายหลี่ ฉางชุน (Li Changchun)
(9) นายหลัว ก้าน (Luo Gan)
นี่ก็เป็นข้อมูลคร่าวสำหรับประเทศที่พัฒนาขึ้นเป็นมหาอำนาจโลก คู่คี่กับ ประเทศมหาอำนาจอื่นๆ ครับ
ประเทศสุดท้ายในคราวนี้ ก็ไม่ใช่ใครที่ไหนหล่ะครับ บ้านเราเอง ครับ ประเทศไทย
รูปแบบการปกครอง: ปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข
พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบัน: พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร(พระนามเดิมพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลเดช)
พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบัน: พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร(พระนามเดิมพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลเดช)
การเมืองการปกครอง
เดิมประเทศไทยมีการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ จนกระทั่งวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 คณะราษฎรไ ด้ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ปัจจุบันประเทศไทยปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยแบ่งอำนาจเป็นสามฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายตุลาการ โดยฝ่ายบริหารจะมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาลซึ่งมากจากการแต่งตั้ง ฝ่ายนิติบัญญัติ ได้แก่ สภานิติบัญญัติแห่งชาติซึ่งมาจากการแต่งตั้ง และฝ่ายตุลาการ คือ ศาลยุติธรรม ศาลรัฐธรรมนูญ และศาลปกครองซึ่งมาจากการปฏิรูปทางเมืองจึงเกิดศาลปกครองและศาลรัฐธรรมนูญ
เมืองหลวง: กรุงเทพมหานคร (Bangkok)
เดิมประเทศไทยมีการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ จนกระทั่งวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 คณะราษฎรไ ด้ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ปัจจุบันประเทศไทยปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยแบ่งอำนาจเป็นสามฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายตุลาการ โดยฝ่ายบริหารจะมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาลซึ่งมากจากการแต่งตั้ง ฝ่ายนิติบัญญัติ ได้แก่ สภานิติบัญญัติแห่งชาติซึ่งมาจากการแต่งตั้ง และฝ่ายตุลาการ คือ ศาลยุติธรรม ศาลรัฐธรรมนูญ และศาลปกครองซึ่งมาจากการปฏิรูปทางเมืองจึงเกิดศาลปกครองและศาลรัฐธรรมนูญ
เมืองหลวง: กรุงเทพมหานคร (Bangkok)
และเขตการปกครอง 76 จังหวัด ปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา
รัฐธรรมนูญ 18 ฉบับ
ระบบกฎหมาย: อิงระบบกฎหมายแพ่ง ซึ่งได้รับอิทธิพลจากฎหมายจารีตประเพณีของอังกฤษ;
ได้รับสิทธิในการเลือกตั้ง: อายุ 18 ปี; ให้สิทธิออกเสียงเลือกตั้ง แก่พลเมืองทั้งมวล
ฝ่ายบริหาร:
ได้รับสิทธิในการเลือกตั้ง: อายุ 18 ปี; ให้สิทธิออกเสียงเลือกตั้ง แก่พลเมืองทั้งมวล
ฝ่ายบริหาร:
ผู้นำรัฐบาล: นายกรัฐมนตรี
คณะรัฐมนตรี , คณะรัฐมนตรี (Council of Ministers) หมายเหตุ: มีคณะมนตรีที่ปรึกษา (Privy Council) ด้วยเช่นกัน การเลือกตั้ง: ไม่มี, การสืบสันตติวงศ์; นายกรัฐมนตรีได้รับการแต่งตั้งจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร; หลังจากการเลือกตั้งสภาผู้แทนราษฎรเรียบร้อยแล้ว, หัวหน้าพรรคที่สามารถจัดตั้งรัฐบาลผสมได้มักจะได้เป็นนายกรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ: bicameral National Assembly หรือรัฐสภา ประกอบด้วยวุฒิสภา 150 คน สภาผู้แทนราษฏร 480 คน
ฝ่ายตุลาการ: ศาลฎีกา (ผู้พิพากษาแต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์)
ฝ่ายนิติบัญญัติ: bicameral National Assembly หรือรัฐสภา ประกอบด้วยวุฒิสภา 150 คน สภาผู้แทนราษฏร 480 คน
ฝ่ายตุลาการ: ศาลฎีกา (ผู้พิพากษาแต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์)
และนี่ก็เป็นรูปแบบการปกครองของชาติต่างๆ ที่ทางเรานำมาจัดให้ท่านผู้ชมได้ทราบกันพอสังเขปนะครับ สำหรับท่านผู้ชมคนใดที่ต้องการทราบข้อมูลประเทศอื่นก็สามารถ ส่งคำขอมาได้ที่ บล็อกของเรานะครับ หรือทาง E-mail : Titanic_duty@hotmail.com ครับ
ที่มาของภาพ จาก Google
บทความ ข้อมูล Wikipedia http://www.apecthai.org
Post ByMr.Nuttachai Nalampang ID 5131601061
Section 1
7 ความคิดเห็น:
น่าสนใจมากเลย อิหร่านเป็นรัฐศาสนา เหอๆ
ขอบคุณมากนะคับ บทความดีๆ แบบนี้
อยู่ที่ไหนก็ไม่เหมือนบ้านเรานะ
เท่าที่ดูจาก5ประเทศข้างต้นน้า
รู้สึกว่าการปกครองของเราเนี่ยขาดเสถียรภาพที่สุด
ปฏิวัติบ่อยเกินไป เมื่อไหร่ประเทศไทยของเราจะหลุดพ้นจากวงจรอุบาทว์แบบนี้ซักที
น่าสนใจมาก ๆ บทความนี้ได้ทำให้เรารู้ถึงการปกครองในประเทศต่าง ๆ และสามารถนำมาเปรียบเทียบหาข้อแตกต่างกันได้อย่างชัดเจนดี บทความนี้จึงมีประโยชน์มาก ๆ
นางสาวภัทราสิยากร ณ นคร
ID:5131601005 SEC:1
เป็นประโยชน์มากเลย ข้อมูลละเอียดดีมาก อ่านแล้วเข้าใจดี การเมืองไทยน่าจะเสถียรอย่างประเทศอื่นบ้างคำว่า Democracy จะได้ไม่เป็นเพียงอุดมการณ์เท่านั้น
น.ส.วิมลวรรณ บุญเจริญ ID 5131601177
รวบรวมข้อมูลได้เยอะดี กระชับ อ่านแล้วเข้าใจมากขึ้น
น.ส.กนกวรรณ ชูจิตต์ประชิต ID 5131601220
แสดงความคิดเห็น